About บทความ
About บทความ
Blog Article
แล้วถ้ายังเขียนไม่ออกอีก หัวข้อต่อไปมีคำตอบครับ
ค้นคว้าก่อนเขียน. ถ้าไม่คุ้นเคยกับหัวข้อของตนเองเลย (ตัวอย่างเช่น ถ้าต้องเขียนหัวข้อเฉพาะทางส่งอาจารย์) เราก็ต้องค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับหัวข้อนั้นก่อนลงมือเขียน พิมพ์คำสำคัญพิมพ์ลงในเสิร์ชเอนจิน วิธีนี้จะช่วยนำเราไปสู่แหล่งข้อมูลที่เกี่ยวกับหัวข้อของเรา อีกทั้งแหล่งข้อมูลเหล่านี้ยังให้แนวทางในการเข้าถึงข้อมูลต่างๆ ของหัวข้อที่จะเขียนด้วย
เด็กชายหงุดหงิดและบอกกับเจ้าของร้านว่า
ตัวอย่างเช่น ใช้คำหรือวลีอย่างเช่น “อย่างไรก็ตาม” “ประเด็นที่สำคัญอีกประเด็นหนึ่งคือ.
เราอาจหาข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตหรือในห้องสมุดก็ได้ อีกทั้งยังหาข้อมูลได้จากการสัมภาษณ์ ดูสารคดี หรือค้นคว้าแหล่งข้อมูลอื่นๆ ด้วย
การเข้าสู่ระบบโซเชียลนั้นไม่สามารถกระทำได้โดยไม่ระบุตัวตนหรือใช้เบราเซอร์ส่วนตัว กรุณาเข้าสู่ระบบด้วยบัญชีชื่อผู้ใช้ของคุณหรืออีเมลเพื่อดำเนินการต่อ
รายการ — ชิ้นส่วนสารสนเทศที่ถูกจัดวางไว้เป็นรายการเป็นข้อ ๆ
แสดงความคิดเห็นพร้อมหลักฐานสนับสนุน. ในบทความส่วนใหญ่นักเขียนจะมีประเด็นซึ่งเป็นแรงผลักดันให้เขียนบทความขึ้นมา จากนั้นนักเขียนจะหาหลักฐานมาสนับสนุนความคิดเห็นของตนเอง เราจะต้องมีเหตุผลหนักแน่นและน่าเชื่อถือ ถึงจะทำให้บทความของเรามีคุณภาพ หลังจากกำหนดเอกลักษณ์ของบทความตนเองแล้ว เราก็จะสามารถมุ่งเข้าสู่ประเด็นที่เราหยิบยกขึ้นมากล่าวถึงในบทความ ตัวอย่างเช่น ถ้ากำลังเขียนเกี่ยวกับวิธีอ่านฉลากออร์แกนิก ประเด็นโดยรวมของเราคือประชาชนจะต้องรู้ว่ามีหลายบริษัทใช้ฉลากออร์แกนิกไปในทางที่ไม่ถูกต้อง จึงนำไปสู่การโฆษณาที่ไม่เป็นไปตามความจริง ตัวอย่างอีกหัวข้ออาจเป็นการรู้ว่าใครเป็นเจ้าของช่องทางสื่อประจำท้องถิ่นนั้นสำคัญ ถ้าองค์กรสื่อธุรกิจเป็นเจ้าของหนังสือพิมพ์ท้องถิ่น เราก็อาจได้ข่าวท้องถิ่นของเราน้อยมากและไม่รู้เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเองมากนัก
อยากจะเขียนบทความดีๆ ให้ได้สักที แต่ไม่รู้จะทำยังไง เขียนไปสักพักบางทีก็ตันจนอยากเลิกเขียน
ตัวอย่างเช่น สมมติว่าเรากำลังเขียนเกี่ยวกับผู้บริโภคคนหนึ่ง คนคนนั้นตัดสินใจไม่ถูกว่าจะซื้ออาหารติดฉลากออร์แกนิกยี่ห้อใดดี “ชาลีกำลังดูกระปุกเนยถั่วที่ชั้น คำว่า “ออร์แกนิก” และ “ธรรมชาติ” ดูเหมือนจะกระโดดเข้าใส่เขา กระปุกทุกกระปุกต่างพูดอะไรไม่เหมือนกัน เขารู้สึกว่ากระปุกพวกนั้นกำลังตะโกนว่า ทางเข้า789bet ”เลือกฉันเถอะ!
กำหนดความยาวของบทความ. บทความนี้มีการกำหนดจำนวนคำไหม เราต้องเขียนให้ได้จำนวนกี่หน้า คำนึงถึงประเภทของบทความและเนื้อที่เขียน อีกทั้งคิดสิว่าต้องเขียนมากเท่าไรถึงจะครอบคลุมหัวข้อนั้นอย่างเพียงพอ
เขียนตามโครงร่างที่วางไว้. เมื่อเราได้เขียนโครงร่างบทความเอาไว้แล้ว ให้ใช้โครงร่างนี้ช่วยเราให้เขียนบทความออกมาได้อย่างต่อเนื่องและเชื่อมโยงกัน โครงร่างจะช่วยให้เราจำจดว่ารายละเอียดต่างๆ เชื่อมโยงกันและกันอย่างไร รวมทั้งรู้ว่าคำพูดที่จะหยิบยกมานั้นสนับสนุนประเด็นไหน
บทความธุรกิจ-การตลาด การบริหาร การจัดการ
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ